สถานการในทุกวันนี้ เราต้องกลับมา “Work from Home” กันอีกครั้ง เนื่องจากการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ได้กลับมาอีกครั้งในระลอกใหม่ หากคุณทำงานอยู่บ้านแล้วเริ่มเปื่อย ขี้เกียจ ไม่มีสมาธิ “ดนตรี” ช่วยคุณได้
การฟังเพลงช่วยได้ ระหว่าง Work from home
สำหรับเพื่อนๆที่ต้องกลับทำงานที่บ้าน หรือ Work from home เพราะมาตราการของทางภาครัฐที่ให้เราต้องกลับมาทำงานที่เพื่อลดการแพร่ระบาดของเชื่อโควิด-19 และปัญหาหลัก ปัญหาใหญ่ในการทำงานที่บ้านคือ เมื่อไม่มีใครมาบังคับให้คุณทำงานแล้ว คุณจะเปื่อย ขี้เกียจ ไม่มีสมาธิ เพราะการทำงานอย่างไม่มีระเบียบนั้นส่งผลให้งานล่าช้ากว่ากำหนด วันนี้ผมมีความรู้ดีๆมาฝากกัน หากคุณกำลังประสบปัญหาเหล่านี้ ให้คุณลอง สร้างเพลลิสต์ของตัวเอง เพื่อใช้เปิดคลอระหว่างทำงาน ผลวิจัยออกมาแล้วว่า การฟังเพลงอย่างมีคุณภาพ จะทำให้งานของคุณดีขึ้น
เพลงที่เปิดคลอนั้นนอกจากจะช่วยสร้างบรรยากาศและไม่ทำให้บ้านเราเงียบเกินไป เพลงยังส่งผลต่อกระบวนการคิด วิเคราะห์ มากกว่าให้ความสุขนอกจากนั้นการฟังเพลงยังช่วยให้เราจัดการกับความวิตกกังวล ช่วยสร้างแรงจูงใจ และพลักดันให้เราทำงานได้อย่างต่อเนื่อง และมีประสิทธิภาพ หากคุณมีเพลลิสที่เหมาะสมก็เพียงพอ
เริ่มต้นวันด้วยเพลงช้าๆ
เคล็ดลับของการเลือกเพลงให้เหมาะสมกับการเริ่มต้นวันใหม่นั้นสำคัญ “iso principle” เป็นเทคนิคที่นักบำบัดใช้ในการเปลี่ยนอารมณ์ของผู้ป่วย โดยเขาจะจับเพลงที่เหมาะสมกับชีวิตผู้ป่วย แล้วค่อยเปลี่ยนเพลงยกระดับไปเรื่อยๆ ตอบสนองอารมณ์ของผู้ป่วยเองในตอนนั้น เรียกง่ายๆว่าเปิดเพลงที่พูดถึงชีวิตตน
เพลงในช่วงแรกของการเริ่มต้นวัน นั้นยังไม่ควรเป็นเพลงที่มีจังหวะมากนัก เพื่อการทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ แต่ให้ค่อยๆ บิ้วอารมณ์ขึ้นไปจนถึงจุดนั้น แม้ว่าคุณจะมีนิสัยในการฟังเพลงที่แตกต่างกันไปก็ตาม อันนั้นเราไม่ว่ากัน เคิร์สเทน เนลสัน นักดนตรีบำบัดจากโรงพยาบาลเด็ก และครอบครัว “ มหาวิทยาลัยไอโอวา สเตด ” ได้แนะนำเพลงอย่าง Here Comes the Sun ของ The Beatles และ Ooh Child ของ Five Stairsteps ว่าสองเพลงนี้ น่าจะเป็นเพลงดีๆ ที่เหมาะกับการเปิดในการเริ่มต้นวันใหม่ เธอชื้อแจงว่า หากคุณตื่นมาด้วยอารมณ์หดหู่ในตอนเช้า ก็ควรเริ่มต้นวันด้วยเพลงที่สร้างบรรยากาศความสงบ แล้วค่อยๆ เพิ่มจังหวะไป แล้วค่อยพาตัวเองไปสู่เพลงที่กระตุ้นแรงจูงใจ เพื่อให้ตัวเองได้เขาสู่สภาวะที่ต้องการ
เพิ่มจังหวะสู่ “เพลงสร้างพลัง”
นักวิจัยได้ค้นพบมาอีกว่า การที่เราฟังเพลงเร็วจะช่วยทำให้งานของคุณมีประสิทธิภาพที่ดีขึ้น โดยในงานวิจัยชิ้นหนึ่งที่ทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างความเร็วของเพลงและความสามารถในการผลิตงาน กลุ่มตัวอย่างที่เข้ารับการทดสอบนั้นพวกเขาจะทำงานได้ดีในขณะที่ฟังเพลงที่มีความเร็วประมาณ 121 bpm อย่าง Call Me Maybe ของคาร์ลี เร เจปเซน หรือ I Wanna Dance with Somebody ของวิทนีย์ ฮิวสตัน
เนลสันได้เรียกปรากฏการณ์นี้ว่าภาวะ “เพลงสร้างพลัง” เพราะสามารถกระตุ้นให้ผู้ฟังมีอารมณ์ฮึกเหิม และมีพลังในการทำงานมากขึ้น โดยเธอเชื่อว่าเพลงสามารถกระตุ้นคน ซึ่งไม่มีสิ่งใดเลยที่เคยกระตุ้นเราได้นอกจากเพลง ถ้าคุณต้องการอยู่ในบรรยากาศที่ทำงานได้อย่างคล่องแคล่ว สนุกสนาน
หลักการเพลงสร้างพลังจึงเป็นประโยชน์ต่อผู้ฟังมากๆ นอกจากนี้ แม้แต่การวางตำแหน่งเพลงด้วยหลักการนี้ในเพลลิสก็ช่วยให้ Work from home ได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น อย่างไม่น่าเชื่อ เช่น ช่วงเริ่มต้นวันใหม่ ช่วงที่เปลี่ยนประเภทงานจากที่เคยทำสิ่งหนึ่ง เป็นไปทำอีกสิ่งหนึ่ง หรือแม้แต่ช่วงจบวัน ก็ยังช่วยรักษาระดับของแรงจูงใจในผู้ฟังได้อีกด้วย
ทบทวนเนื้อเพลงของคุณ
เนลสัน กล่าวว่า เพลงส่วนใหญ่แล้วจะเป็นเพลงที่มีเนื้อเพลงเพราะงั้นการเลือกเพลงใส่เพลลิสล้วนเป็นความชอบส่วนบุคคล นักวิจัยแนะนำอีกว่า การฟังเพลงจังหวะที่ซับซ้อนสามารถช่วยให้ผู้ฟังมีอารมณ์ฮึกเหิมและมีพลัง ในกรณีที่ต้องทำงานที่ต้องใช้ความคิดเยอะๆ การฟังเพลงแบบมีเนื้อร้องก็อาจจะทำให้ผู้ฟังบางท่านไม่มีสมาธิจดจ่ออยู่กับงาน เพราะตนสามารถร้องเพลงนั้นได้ดี และในขณะเดียวกันเนื้อเพลงก็เป็นสิ่งที่สร้างแรงจูงใจชั้นดี อย่าเพิ่งรีบเปิดเพลงโปรดของคุณทั้งวัน งานวิจัยค้นพบอีกว่า ประสิทธิภาพในการทำงานจะลดลงหากฟังเพลงที่เรียกว่าเป็น “เพลงที่คุ้นเคย” เพราะการฟังเพลงที่เราชอบนั้นจะทำให้สมาธิของเราไปจดจ่ออยู่กับเพลง ส่งผลให้ทำงานได้ออกมาไม่ดีนั่นเอง
ลองอะไรใหม่ๆ
ควรปล่อยให้ตัวเองฟังเพลงใหม่ๆบ้าง เปิดใจให้กับสิ่งใหม่ๆที่เรื่องเก่าที่มันไม่ดีไปซะ ยืดหยุ่นกับตัวเอง และหากไม่อยากฟังเพลย์ลิสต์ที่จัดไว้ ก็ไม่ต้องฟังก็ได้
ภาพ pinterest
Credit : น้ำเต้าปูปลา
เกมส์ออนไลน์แนะนำ >>> สล็อตเว็บตรง